ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย: “มาตรการห้ามนำเข้าบุหรี่ไฟฟ้าของประเทศไทย” แด่ กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ จัดทำโดย ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

บุหรี่อิเล็กโทรนิกส์มีการกล่าวอ้างในการช่วยเลิกบุหรี่ แต่ยังไม่มีหลักฐานเชิงวิทยาศาสตร์ที่รับรองประสิทธิผลและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว บุหรี่อิเล็กทรอนิกส์มีสารนิโคตินสูงถึง 4-24 มิลลิกรัม สูงกว่าบุหรี่ธรรมดากว่า 10 เท่าในขณะที่บุหรี่ธรรมดามีสารนิโคตินเพียง 1.2 มิลลิกรัม ทำให้อัตราการเต้นของหัวใจสูงส่งผลต่อความดันโลหิต
บุหรี่อิเล็กโทรนิกส์มีการกล่าวอ้างในการช่วยเลิกบุหรี่ แต่ยังไม่มีหลักฐานเชิงวิทยาศาสตร์ที่รับรองประสิทธิผลและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ซึ่งมีสารนิโคตินสูงถึง 4-24 มิลลิกรัม สูงกว่าบุหรี่ธรรมดากว่า 10 เท่าในขณะที่บุหรี่ธรรมดามีสารนิโคตินเพียง 1.2 มิลลิกรัม ผู้ผลิตบางรายแต่งรสและกลิ่นผลไม้หรือสมุนไพร ซึ่งอาจจะเป็นการเพิ่มจำนวนนักสูบหน้าใหม่
สถานการณ์ปัญหา ในปัจจุบันมีเว็บไซต์ที่เสนอสิ่งที่ผิดกฎหมาย ทำการโฆษณาและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบชนิดต่างๆ โดยใช้ช่องโหว่ของการตรวจสอบเว็บไซต์ของภาคราชการ ซึ่งจากผลการสำรวจ “การตลาดการแลกเปลี่ยนซื้อสินค้าบุหรี่/ผลิตภัณฑ์ยาสูบบนอินเตอร์เน็ต” โดย ดร.พิจิตรพงศ์ สุนทรพิพิธ นักวิชาการคณะสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล
Policy Brief โดย ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) 17 มกราคม 2556 ข้อมูลทางวิชาการเรื่องการลงทุนเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาช่วยเลิกบุหรี่ในประเทศไทย นโยบายสนับสนุนการเลิกบุหรี่ (Offer help to quite tobacco use) เป็นหนึ่งใน 6 นโยบายที่องค์การอนามัยโลกยอมรับว่าเป็นนโยบายที่คุ้มค่าในการลงทุน