Press release ศจย.

"ไอระเหยบุหรี่ไฟฟ้า” ไม่ปลอดภัย กระทบสุขภาพชัด

"ไอระเหยบุหรี่ไฟฟ้า” ไม่ปลอดภัย กระทบสุขภาพชัด

ศ.นพ.รณชัย คงสกนธ์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการวามรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) กล่าวถึง ‘รายงานส่วนประกอบไอระเหยบุหรี่อิเล็กทรอนิกส์และผลกระทบต่อสุขภาพ ปีพ.ศ.2563’ ว่า นับเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ ‘บุหรี่อิเล็กทรอนิกส์ หรือ บุหรี่ไฟฟ้า’ เมื่อถูกกลุ่มผู้ผลิตบุหรี่ไฟฟ้านำเสนอว่า เป็นสิ่งที่ไม่มีควันจากการเผาไหม้จึงปลอดภัยกว่าบุหรี่ ทั้งนี้ผลการศึกษาพบว่า

ศจย.แนะสังคมหนุนรณรงค์สูบบุหรี่เสี่ยงโควิด-19 ต่อเนื่อง โพลชี้คนไทยส่วนมากตระหนัก “ติดบุหรี่ ติดโควิด เสี่ยงตายสูง

ศจย.แนะสังคมหนุนรณรงค์สูบบุหรี่เสี่ยงโควิด-19 ต่อเนื่อง โพลชี้คนไทยส่วนมากตระหนัก “ติดบุหรี่ ติดโควิด เสี่ยงตายสูง

ศจย.แนะสังคมหนุนรณรงค์สูบบุหรี่เสี่ยงโควิด-19 ต่อเนื่อง โพลชี้คนไทยส่วนมากตระหนัก “ติดบุหรี่ ติดโควิด เสี่ยงตายสูง รณรงค์สูบบุหรี่เสี่ยงโควิด-19 ได้ผล! ศจย.หนุนเดินหน้าต่อเนื่องตามแคมเปญวันงดสูบบุหรี่โลก ปี 2563 ‘ติดบุหรี่ ติดโควิด เสี่ยงตายสูง’ #เลิกสูบลดเสี่ยง ชวนคนไทยลด-เลิกสูบบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และผลิตภัณฑ์ยาสูบทุกชนิด หลังผลสำรวจพบคนไทยร้อยละ 75 รู้ว่าสูบบุหรี่เสี่ยงติดไวรัสก่อโรคโควิด-19 อีกร้อยละ 85 ตระหนักบุหรี่ทำให้ปอดอักเสบจากโควิด-19 รุนแรงมากขึ้น

พลังชุมชนปลอดบุหรี่ ต้านภัยโควิด

พลังชุมชนปลอดบุหรี่ ต้านภัยโควิด

พลังชุมชนปลอดบุหรี่ ต้านภัยโควิด รามาธิบดี ประสาน 8 ชุมชน รวมพลังเลิกสูบบุหรี่ ลดเสี่ยงภัย COVID-19 (29 พฤษภาคม 2563 ที่ผ่านมา) ที่ อาคารศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา คณบดีคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นประธานเปิดโครงการ “พลังชุมชนปลอดบุหรี่ ต้านภัยโดวิด-19" และร่วมรณรงค์เนื่องในวัน 31 พฤษภาคม วันงดสูบบุหรี่โลกปี 2563 ในประเด็น “ติดบุหรี่ ติดโควิด เสี่ยงตายสูง #เลิกสูบลดเสี่ยง”

ยุติบุหรี่สายเย็น ป้องกันนักสูบหน้าใหม่

ยุติบุหรี่สายเย็น ป้องกันนักสูบหน้าใหม่

กลุ่มสหภาพยุโรปและสหราชอาณาจักรห้ามผลิตและขายบุหรี่ที่มีส่วนผสมของเมนทอล 20 พ.ค.นี้ ชี้ไทยถึงเวลาแล้วที่ต้องออก ‘มาตรการห้ามบุหรี่เมนทอล’ เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ที่เป็นเด็กและเยาวชนไทยจากการเสพติดบุหรี่

หนุนผู้ใช้แรงงานและประชาชนไทย เลิกบุหรี่ลดเสี่ยง COVID-19

หนุนผู้ใช้แรงงานและประชาชนไทย เลิกบุหรี่ลดเสี่ยง COVID-19

ศ.นพ.รณชัย คงสกนธ์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) เปิดเผยผลสำรวจล่าสุด โดย ศจย. ร่วมกับ สวนดุสิตโพล ได้ทำ ‘การสำรวจพฤติกรรมการบริโภคยาสูบของกลุ่มผู้ใช้แรงงานในสถานการณ์ COVID-19’ ในเดือนเมษายน พ.ศ.2563 กลุ่มตัวอย่างในการสำรวจครั้งนี้ คือ ผู้ใช้แรงงานกลุ่มนอกระบบ เช่น รถมอเตอร์ไซด์รับจ้าง แท็กซี่ งานบ้าน เกษตร และประมง และผู้ใช้แรงงานกลุ่มในระบบ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม ห้างร้าน เป็นต้น

เลิกสูบยาสูบทุกชนิด ไม่เพียงแต่ช่วยรักษาชีวิตคุณ

เลิกสูบยาสูบทุกชนิด ไม่เพียงแต่ช่วยรักษาชีวิตคุณ

เลิกสูบยาสูบทุกชนิด ไม่เพียงแต่ช่วยรักษาชีวิตคุณ ยังทำให้คุณไม่ต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล ซึ่งจะช่วยรักษาชีวิตของผู้อื่น เพราะทรัพยากรโรงพยาบาลอาจไม่เพียงพอรักษาผู้ป่วย COVID-19 | ศ.นพ.รณชัย คงสกนธ์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) กล่าวว่า ปัจจุบันสถานการณ์การระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นที่น่าเป็นห่วงทั่วโลก

นักวิชาการ ท้วง อย่าใช้ช่วงเวลาวิกฤติ “COVID-19” เข้าร่วม ความตกลง “CPTPP” อย่างไม่รอบคอบ หวั่น กระทบ “การควบคุมยาสูบ” ของประเทศไทย

นักวิชาการ ท้วง อย่าใช้ช่วงเวลาวิกฤติ “COVID-19” เข้าร่วม ความตกลง “CPTPP” อย่างไม่รอบคอบ หวั่น กระทบ “การควบคุมยาสูบ” ของประเทศไทย

ดร.วศิน พิพัฒนฉัตร ผู้ช่วยผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) กล่าวว่า “ในช่วงวิกฤติ COVID-19 ของประเทศไทย ตอนนี้ขอให้รัฐบาล อย่าพึ่งให้เห็นชอบเข้าร่วม ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก หรือ CPTPP ขอให้รัฐบาลพิจารณาผลกระทบของกรอบความตกลงให้ชัดเจนเสียก่อน ความน่ากังวลของความตกลง CPTPP กับการควบคุมยาสูบ

สูบบุหรี่/บุหรี่ไฟฟ้า ยิ่งเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อนรุนแรงจาก COVID-19 เลิกสูบ ลดเชื้อ เพื่อตัวคุณ และคนที่คุณรัก

สูบบุหรี่/บุหรี่ไฟฟ้า ยิ่งเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อนรุนแรงจาก COVID-19 เลิกสูบ ลดเชื้อ เพื่อตัวคุณ และคนที่คุณรัก

ศ.นพ.รณชัย คงสกนธ์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) เปิดเผยข้อมูล ของสถาบันแห่งชาติว่าด้วยการติดยาเสพติดของสหรัฐอเมริกา (National Institute on Drug Abuse: NIDA) พบว่า COVID-19 คุกคามประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับผู้ที่สูบบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า ซึ่งพิษภัยจากการสูบในยามปกติจัดว่ารุนแรงต่อสุขภาพในระบบทางเดินหายใจอยู่แล้ว

นักวิชาการเตือน  “ไอของบุหรี่ไฟฟ้า เสี่ยงแพร่ระบาด COVID-19  ไปยังคนจำนวนมากได้”

นักวิชาการเตือน “ไอของบุหรี่ไฟฟ้า เสี่ยงแพร่ระบาด COVID-19 ไปยังคนจำนวนมากได้”

ศ.นพ.รณชัย คงสกนธ์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) กล่าวเตือนถึงความเสี่ยงของการสูบบุหรี่ไฟฟ้าจะมีผลต่อการลดภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำให้เพิ่มความเสี่ยงเป็น COVID-19 เพราะในไอของบุหรี่ไฟฟ้า มีสารโลหะหนัก เช่น นิเกิล โครเมียม ที่มีพิษต่อปอด แคดเมียมที่มีพิษต่อไต และสารก่อมะเร็ง เช่น เบนซีน อะเซตตัลดีไฮด์

X

Main Menu