Press release ศจย.

นักวิชาการ ชื่นชม การบินไทย ที่เคร่งครัดต่อกฎหมาย ห้ามนำเข้าบุหรี่ไฟฟ้า

นักวิชาการ ชื่นชม การบินไทย ที่เคร่งครัดต่อกฎหมาย ห้ามนำเข้าบุหรี่ไฟฟ้า

จากกรณีที่มีข่าว พนักงานสายการบินไทย ลักลอบนำบุหรี่และไส้บุหรี่ไฟฟ้าจำนวนมากเข้ามาในประเทศไทย ศ.นพ.รณชัย คงสกนธ์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี “ขอกล่าวชื่นชมการทำงานของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ที่เคร่งครัดต่อการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการนำเข้าบุหรี่ไฟฟ้า”

Press Release จัดประชุมวิชาการบุหรี่กับสุขภาพ ครั้งที่ 18 กระตุ้นเตือน “บ้านต้อง ปลอดควันบุหรี่ 100%”

Press Release จัดประชุมวิชาการบุหรี่กับสุขภาพ ครั้งที่ 18 กระตุ้นเตือน “บ้านต้อง ปลอดควันบุหรี่ 100%”

ศจย.-สสส. และภาคีเครือข่าย จัดประชุมวิชาการบุหรี่กับสุขภาพ ครั้งที่ 18 กระตุ้นเตือน “บ้านต้อง ปลอดควันบุหรี่ 100%” ชี้ บ้านที่มีคนสูบบุหรี่เส่ียงเป็นมะเร็งปอดเพ่ิม 24% เด็กเสี่ยงไหลตายเพิ่ม 2 เท่า นักวิชาการมะกันเตือนบุหรี่ไฟฟ้าระบาด สถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข รัฐบาลทุกประเทศ ต้องควบคุมห้ามขาย-สูบ 100%

นักวิชาการ ชี้ "สูบกัญชา" ร่วมยาสูบ ส่งผลไม่เลิกสูบ เสี่ยงรับสารพิษเพิ่ม

นักวิชาการ ชี้ "สูบกัญชา" ร่วมยาสูบ ส่งผลไม่เลิกสูบ เสี่ยงรับสารพิษเพิ่ม

นักวิชาการ ชี้ "สูบกัญชา" ร่วมยาสูบ ส่งผลไม่เลิกสูบ เสี่ยงรับสารพิษเพิ่ม เผยแพร่: 23 เม.ย. 2562 19:26 โดย: ผู้จัดการออนไลน์ ศจย.ชี้งานวิจัย ใช้ "กัญชา" ร่วมยาสูบ ส่งผลตัดสินใจไม่เลิกสูบ เสี่ยงได้รับสารพิษเพิ่มขึ้นชัดเจน บางงานวิจัยพบทำให้หันมาสูบยาสูบเพิ่มขึ้น | ศ.นพ.รณชัย คงสกนธ์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.)

ใช้กัญชาร่วมกับยาสูบ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพมากและตัดสินใจไม่เลิกสูบยาสูบ

ใช้กัญชาร่วมกับยาสูบ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพมากและตัดสินใจไม่เลิกสูบยาสูบ

นักวิชาการชี้ ใช้กัญชาร่วมกับยาสูบ ส่งผลต่อการตัดสินใจไม่เลิกสูบยาสูบ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพเสี่ยงได้รับสารพิษเพิ่มขึ้นชัดเจน จึงอยากฝากเรื่องนี้ให้สังคมทราบ | ตามที่มีข่าวออกมากล่าวถึงการใช้กัญชาเพื่อการเลิกยาสูบ ต้องระมัดระวังอย่างยิ่งในเรื่องของการนำกัญชามาเกี่ยวข้องกับยาสูบ เนื่องจากยังไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์หรืองานวิจัยที่ยืนยันชัดเจน

Press Release : ศจย.ห่วงไฟไหม้จากก้นบุหรี่

Press Release : ศจย.ห่วงไฟไหม้จากก้นบุหรี่

ศจย.ห่วงไฟไหม้จากก้นบุหรี่ทำสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินกว่าร้อยล้านบาท แนะกระทรวงสาธารณสุขเร่งออกมาตรการ “บุหรี่ปลอดไฟไหม้” ชี้จะสามารถลดจำนวนไฟไหม้จากบุหรี่ลงถึง 2 ใน 3 ของเหตุการณ์เพลิงไหม้จากก้นบุหรี่ | ศ.นพ.รณชัย คงสกนธ์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) กล่าวว่า จากกรณีข่าวไฟไหม้ป่า 50 ไร่

ศจย. ชื่นชม ทอท. ที่ได้ดำเนินการให้ 6 ท่าอากาศยานในประเทศไทยปลอดบุหรี่

ศจย. ชื่นชม ทอท. ที่ได้ดำเนินการให้ 6 ท่าอากาศยานในประเทศไทยปลอดบุหรี่

ศจย. ชื่นชม ทอท. ที่ได้ดำเนินการให้ 6 ท่าอากาศยานในประเทศไทยปลอดบุหรี่ สามารถคุ้มครองสุขภาพจากผลกระทบควันบุหรี่มือสองของประชาชนไทยและชาวต่างชาติ | วันนี้ 3 เม.ย. 2562 ศ.นพ.รณชัย คงสกนธ์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) ได้มีจดหมายแสดงความชื่นชม บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทอท.

ศจย. วอนขอรัฐบาล อย่าเลื่อนการขึ้นภาษีบุหรี่ 40%

ศจย. วอนขอรัฐบาล อย่าเลื่อนการขึ้นภาษีบุหรี่ 40%

ศจย. วอนขอรัฐบาล อย่าเลื่อนการขึ้นภาษีบุหรี่ 40% | ศจย. เปิดข้อมูลรายได้รัฐจากภาษียาสูบ ปี 61 จัดเก็บภาษีได้กว่า 71,009 หมื่นล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 60 มากถึง กว่า 4,000 ล้านบาท วอนขอรัฐบาล อย่าเลื่อนการขึ้นภาษีบุหรี่ 40% ไม่เกิดประโยชน์ ควร win win ทุกฝ่าย ย้ำบุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับ 1 ของการเสียชีวิตของคนไทย ยอดตายสูง 54,610 คน

จับตาสารพัดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ ทำคนไทยป่วยหนัก ตายก่อนวัยอันควร

จับตาสารพัดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ ทำคนไทยป่วยหนัก ตายก่อนวัยอันควร

เปิดเผยข้อมูลล่าสุด “จับตาสารพัดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ ทำคนไทยป่วยหนัก ตายก่อนวัยอันควร” ผลศึกษา “รายงานภาระโรคจากปัจจัยเสี่ยงของประชากร” ชี้สาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง "บุหรี่-เหล้า-ความดันโลหิตสูง-โรคอ้วน" ทำคนไทยป่วย ตายก่อนวัยอันควร โดยพบบุหรี่เป็นสาเหตุอันดับหนึ่งทำคนไทยตายสูงสุด 55,000 คนต่อปี

แพทย์เตือน บุหรี่ไฟฟ้าอันตรายกว่า PM 2.5

แพทย์เตือน บุหรี่ไฟฟ้าอันตรายกว่า PM 2.5

Press Release: ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) ข่าวเผยแพร่: วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2562 (วันที่ข่าวตีพิมพ์สามารถเผยแพร่ได้ทันที) แพทย์เตือน บุหรี่ไฟฟ้าอันตรายกว่า PM 2.5 วิจัยล่าสุดพบก่อให้เกิด PM 2.5 สูงถึง 19,972 มคก./มล. ซ้ำเป็นสาเหตุของโรคหัวใจขาดเลือด เส้นเลือดในสมองตีบ

X

Main Menu