ผศ.ดร.นพ.วิชช์ เกษมทรัพย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) เปิดเผยข้อมูลล่าสุด จากบทความการประชุมวิชาการของ American Heart Association Epidemiology, Prevention, Lifestyle & Cardiometabolic Health Scientific Sessions ค.ศ.2023 ระบุถึงการศึกษาความเชื่อมโยงระหว่างการสูบไอบุหรี่ไฟฟ้า
ผศ.ดร.นพ.วิชช์ เกษมทรัพย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) กล่าวว่า งานวิจัยยืนยัน บุหรี่ไฟฟ้าไม่ช่วยเลิกบุหรี่มวน โดยจากการศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้บุหรี่ไฟฟ้าของเยาวชนที่พยายามเลิกสูบบุหรี่ ซึ่งใช้ข้อมูลจากการสำรวจยาสูบของเยาวชนระดับประเทศ (National Youth Tobacco Surveys, NYTS)
เมื่อวันที่ 4 ม.ค. 2566 นายอรรถพล สังขวาสี ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวว่า สถานการณ์การสูบบุหรี่ไฟฟ้า กำลังขยายตัวอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นในสถาบันการศึกษา ตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาไปจนถึงระดับอุดมศึกษา โดยการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติในปี 2564 พบว่า ประชากรไทยสูบบุหรี่ไฟฟ้าประมาณ 78,742 คน
ผศ.ดร.นพ.วิชช์ เกษมทรัพย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) กล่าวว่า องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่าบุหรี่คร่าชีวิตประชากรโลกมากถึง 8 ล้านคนต่อปี ในจำนวนนนี้ 1.2 ล้านคน คือผู้ที่สัมผัสกับ ‘ควันบุหรี่มือสอง’ (Secondhand Smoke, SHS) โดยประเมินว่า SHS คร่าชีวิตเด็กมากถึง 65,000 รายต่อปี ซึ่งเด็กมีความเสี่ยงสูงกว่า 50-100%
ศจย. เผยผลวิจัย ข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์ “มากกว่า 7,000 ชิ้น” ยืนยันบุหรี่ไฟฟ้าอันตรายต่อระบบต่างๆ ของร่างกายชัดเจน ชี้ ไอบุหรี่ไฟฟ้ามีสารพิษ “มากกว่า 100 ชนิด” เมื่อวันที่ 22 ธ.ค. ผศ.ดร.นพ.วิชช์ เกษมทรัพย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการวามรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) กล่าวว่า ตามที่มีข่าวปรากฏเกี่ยวกับรายงานผลการพิจารณาศึกษา
ผศ.ดร.นพ.วิชช์ เกษมทรัพย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการวามรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) กล่าวว่า จากการที่มีการกล่าวอ้างว่าบุหรี่ไฟฟ้าสามารถใช้เลิกบุหรี่ได้ และเป็นเหตุให้อัตราการสูบบุหรี่ลดลงในปีพศ.2564นั้น หากพิจารณาข้อมูลของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปีพศ.2534-2564 จะพบว่าอัตราการสูบบุหรี่ของประเทศไทยลดลงอย่างต่อเนื่อง
รองนายกฯ อนุทิน ประกาศจุดยืน ไทยไม่สนับสนุนบุหรี่ไฟฟ้าทุกรูปแบบ ป้องกันสุขภาพเด็ก เยาวชน ตั้งแต่ต้นทาง เร่งบังคับใช้กม. อย่างเคร่งครัด เวทีประชุมวิชาการบุหรี่กับสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 20 ชี้ บุหรี่ไฟฟ้าเป็นภัยซ่อนเร้นในสังคม รวมงานวิจัยทั่วโลกเกือบ 7 พันชิ้น พบโรคแทรกซ้อนจากบุหรี่ไฟฟ้าทุกระบบในร่างกาย เสี่ยงปอดอุดกั้น เส้นเลือดสมองและหัวใจตีบ