Press release ศจย.

เจาะลึก ข้อดีข้อเสีย 3 แนวทาง ของอนุกรรมาธิการกฎหมายบุหรี่ไฟฟ้า

เจาะลึก ข้อดีข้อเสีย 3 แนวทาง ของอนุกรรมาธิการกฎหมายบุหรี่ไฟฟ้า

เมื่อวันที่ 10 ก.ค. 2567 ที่โรงแรมเดอะสุโกศล กรุงเทพฯ ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) ได้จัด งานเสวนาสื่อ เรื่อง “เจาะลึก ข้อดีข้อเสีย 3 แนวทาง ของอนุกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษากฎหมายและมาตรการควบคุมกำกับบุหรี่ไฟฟ้าในประเทศไทย” เพื่อให้ข้อมูลอย่างรอบด้าน ถึงข้อดีข้อเสียในการที่จะกำหนดมาตรการต่างๆ

นักวิชาการกังขา สภาฯ ดูงานบุหรี่ไฟฟ้าจีน ประชุมร่วมกับหน่วยงานที่มีความสัมพันธ์กับบริษัทบุหรี่

นักวิชาการกังขา สภาฯ ดูงานบุหรี่ไฟฟ้าจีน ประชุมร่วมกับหน่วยงานที่มีความสัมพันธ์กับบริษัทบุหรี่

นักวิชาการกังขา สภาฯ ดูงานบุหรี่ไฟฟ้าจีน ประชุมร่วมกับหน่วยงานที่มีความสัมพันธ์กับบริษัทบุหรี่ เรียกร้องสังคมจับตา กมธ.เอาข้อมูลบริษัทบุหรี่มาอ้างยกเลิกแบนบุหรี่ไฟฟ้า
เมื่อ 8 ก.ค. 2567 ผศ.ดร.นพ.วิชช์ เกษมทรัพย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี

ปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นที่สูบบุหรี่ไฟฟ้า

ปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นที่สูบบุหรี่ไฟฟ้า

เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ที่โรงแรมเดอะสุโกศล กรุงเทพฯ ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) ได้จัด การแถลงข่าว ‘ปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นที่สูบบุหรี่ไฟฟ้า’ เนื่องจากบุหรี่ไฟฟ้านอกจากอันตรายต่อปอด หัวใจ สมอง แล้วยังส่งผลต่อสุขภาพจิต เพิ่มความเสี่ยงต่อมีอาการซึมเศร้า ความวิตกกังวล ส่งผลกระทบกับการเรียนรู้และคุณภาพชีวิตของเด็กและเยาวชน

ถอดบทเรียน สิงคโปร์ ฮ่องกง “บังคับใช้กฎหมายห้ามบุหรี่ไฟฟ้า ที่มีประสิทธิภาพ”

ถอดบทเรียน สิงคโปร์ ฮ่องกง “บังคับใช้กฎหมายห้ามบุหรี่ไฟฟ้า ที่มีประสิทธิภาพ”

ผศ.ดร.นพ.วิชช์ เกษมทรัพย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) กล่าวว่า ปัจจุบันเกิดวิกฤตการแพร่ระบาดบุหรี่ไฟฟ้าในเด็กไทยอย่างมาก โดยพบการลักลอบขายบุหรี่ไฟฟ้าทั้งจากร้านค้าและบนสื่อออนไลน์จำนวนมาก นับเป็นหายนะที่เด็กไทยกำลังตกเป็นเหยื่อการตลาดล่าเหยื่ออย่างไร้จริยธรรม

ปกป้องเด็กเยาวชน ตกเป็นเหยื่อบุหรี่ไฟฟ้า

ปกป้องเด็กเยาวชน ตกเป็นเหยื่อบุหรี่ไฟฟ้า

รศ.ดร.จักรพันธ์ เพ็ชรภูมิ อาจารย์คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร กล่าวถึง ผลการวิจัย เรื่อง ‘สถานการณ์แพร่ระบาดการใช้บุหรี่ไฟฟ้าของนักเรียนและการปรับตัวของครูในการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่ไฟฟ้าในโรงเรียน’ ปี 2567 โดยกลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศ 6,111 คน พบว่า 9.7% ใช้บุหรี่ไฟฟ้าในรอบ 30 วันที่ผ่านมา

ผอ.WHOประจำประเทศไทย ได้เข้าให้ ‘ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้า

ผอ.WHOประจำประเทศไทย ได้เข้าให้ ‘ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้า

ผอ.WHOประจำประเทศไทย ได้เข้าให้ ‘ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้า’ ต่อ กมธ.วิสามัญบุหรี่ไฟฟ้า ชี้บุหรี่ไฟฟ้าอันตราย เสพติด เด็กเยาวชนตกเป็นเป้าหมายการตลาดของบุหรี่ไฟฟ้า แนะไทยซึ่งมีกฎหมายห้ามนำเข้าห้ามขายบุหรี่ไฟฟ้าอยู่แล้วนั้น ควรเพิ่มความเข้มแข็งในการบังคับใช้กฎหมาย และรัฐควรปกป้องนโยบายสาธารณะจากการแทรกแซงโดยอุตสาหกรรมยาสูบและบุหรี่ไฟฟ้า

ประธานกมธ.วิสามัญบุหรี่ไฟฟ้า” เรียกร้องฟังเสียงประชาชน ขอให้ “คงกฎหมายห้ามนำเข้าห้ามขายบุหรี่ไฟฟ้า

ประธานกมธ.วิสามัญบุหรี่ไฟฟ้า” เรียกร้องฟังเสียงประชาชน ขอให้ “คงกฎหมายห้ามนำเข้าห้ามขายบุหรี่ไฟฟ้า

นักวิชาการ เด็ก เยาวชน ยื่นหนังสือถึง “ประธานกมธ.วิสามัญบุหรี่ไฟฟ้า” เรียกร้องฟังเสียงประชาชน ขอให้ “คงกฎหมายห้ามนำเข้าห้ามขายบุหรี่ไฟฟ้า” และ “เร่งบังคับใช้กฎหมายอย่างเร่งด่วน” เพื่อปกป้องเด็กไทยจากภัยบุหรี่ไฟฟ้า หลังพบมีการลักลอบขายบุหรี่ไฟฟ้าในสื่อออนไลน์จำนวนมาก

ทาง 2 แพร่ง ที่ไทยต้อง “เลือก” เพื่อปกป้องเยาวชนไทยจาก “บุหรี่ไฟฟ้า”

ทาง 2 แพร่ง ที่ไทยต้อง “เลือก” เพื่อปกป้องเยาวชนไทยจาก “บุหรี่ไฟฟ้า”

ทาง 2 แพร่ง ที่ไทยต้อง “เลือก” เพื่อปกป้องเยาวชนไทยจาก “บุหรี่ไฟฟ้า” ศจย. สพท. สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย ยื่นหนังสือถึง “ประธานกรรมาธิการสาธารณสุข” เสนอข้อเท็จจริง วิเคราะห์ 2 ทางเลือกของประเทศไทย “แบนหรือไม่แบนบุหรี่ไฟฟ้า”

บุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า “ต้นทางแรก” เด็กและเยาวชน “ติดยาเสพติด”

บุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า “ต้นทางแรก” เด็กและเยาวชน “ติดยาเสพติด”

บุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า “ต้นทางแรก” เด็กและเยาวชน “ติดยาเสพติด” ต้องการปราบปรามยาเสพติดเด็ดขาด ต้องปราบปรามบุหรี่ไฟฟ้า ผศ.ดร.นพ.วิชช์ เกษมทรัพย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) กล่าวว่า การใช้บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าในเด็กและเยาวชนทำให้เสพติดนิโคติน ซึ่งถือเป็นต้นทางแรก ประตูเชื่อม (gateway) ให้ไปสู่การเสพติด ยาเสพติดอื่นๆ

X

Main Menu