คลังหนังสือ ศจย.

บทคัดย่อและบทความสมบูรณ์ การประชุมครั้งที่ 18

บทคัดย่อและบทความสมบูรณ์ การประชุมครั้งที่ 18

การประชุมวิชาการ “บุหรี่กับสุขภาพแห่งชาติ” ครั้งที่ 18 เรื่อง “Tobacco and Lung Health” หรือภาษาไทยใช้หัวข้อเรื่องว่า “บุหรี่เผาปอด” ในปี พ.ศ.2562 คณะกรรมการจัดการประชุม ได้จัดให้มีการนำเสนอผลงานวิชาการเพื่อการควบคุมคุมยาสูบ ทั้งในรูปแบบของการนำเสนอด้วยวาจา การนำเสนอแบบโปสเตอร์ และการเผยแพร่บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์

การนำเสนอผลงานวิจัยและโปสเตอร์เพื่อการควบคุมยาสูบ

การนำเสนอผลงานวิจัยและโปสเตอร์เพื่อการควบคุมยาสูบ

การประชุมนาเสนอผลงานวิจัยและโปสเตอร์เพื่อการควบคุมยาสูบ (Pre-conference) วันที่ 27 กรกฎาคม 2555 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ผลงานจากโครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ(ศจย.)ตลอดจนงานวิจัยด้านการควบคุมยาสูบจากหนว่ยงานอื่นๆ

สรุปสถานการณ์ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์การควบคุมการบริโภคยาสูบของประเทศไทยปี 2556

สรุปสถานการณ์ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์การควบคุมการบริโภคยาสูบของประเทศไทยปี 2556

ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดทาสรุปสถานการณ์ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์การควบคุมการบริโภคยาสูบของประเทศไทยปี 2556 ฉบับนี้ เพื่อเป็นประโยชน์ในการประเมินการควบคุมยาสูบตามแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ พ.ศ.2555-2557 โดยเอกสารชุดนี้แสดงตัวชี้วัดการประเมินผลระบบการควบคุมการบริโภคยาสูบ

 สรุปสถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงหลักด้านยาสูบของประเทศไทย พ.ศ.2557

สรุปสถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงหลักด้านยาสูบของประเทศไทย พ.ศ.2557

ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดทารายงานสถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงหลักด้านยาสูบของประเทศไทย พ.ศ.2557 ฉบับนี้เพื่อเป็นประโยชน์ในการให้ข้อมูลอ้างอิงในการเสนอจุดเน้นยุทธศาสตร์ควบคุมยาสูบของประเทศไทย โดยภาคีควบคุมยาสูบโดยมีสาระภายในเล่มประกอบด้วยเนือ้ หาหลัก 11 หัวข้อในครั้ง นี้ ศจย.

 เอกสารประกอบการประชุมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

เอกสารประกอบการประชุมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศจย.) ได้ดำเนินโครงการวิจัยพัฒนารูปแบบบริการช่วยเลิกบุหรี่ มาได้ระยะหนึ่งแล้ว ด้วยทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยได้รับความร่วมมือด้านนักวิจัยจาก สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP) และมหาวิทยาลัยต่างๆ

 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กับการควบคุมยาสูบ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กับการควบคุมยาสูบ

เป็นที่ทราบกันดีว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาส่วนท้องถิ่นในทุกด้าน ทั้งการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและสุขภาพ บทบาทด้านการควบคุมยาสูบเป็นบทบาทหนึ่งที่คาดหวังว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมการสูบบุหรี่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้มีการออกพระราชบัญญัติแต่งตั้งบุคลากร

 หลักสูตรโรงเรียนปลอดบุหรี่

หลักสูตรโรงเรียนปลอดบุหรี่

เมื่อผมและทีมงานเริ่มทำงานรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ในปี พ.ศ.2529 ผมรู้สึกตื่นเต้นมากที่ใน สหรัฐอเมริกามีการตั้งเป้าหมายว่าจะทำให้ชั้นเรียนปลอดบุหรี่ในปี พ.ศ.2543 ด้วยโครงการ“Smoke Free Class 2000” คิดง่ายๆ ว่า ถ้ากำหนดให้โรงเรียนเป็นเขตปลอดบุหรี่ และมีกฎหมายห้ามขายบุหรี่แก่เด็กที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี ก็จะไม่มีใครสูบบุหรี่ในโรงเรียนอีกยี่สิบปีผ่านไป

 หญิงไทยกำลังตกเป็นเหยื่อ

หญิงไทยกำลังตกเป็นเหยื่อ

ที่เราแปลเป็นไทยว่า “หญิงไทยฉลาด ไม่เป็นทาสตลาดบุหรี่” มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ได้รับความอนุเคราะห์จากนักวิชาการที่ทำงานด้านยาสูบ เรียบเรียงองค์ความรู้และข้อมูลรวมเล่มเป็นหนังสือเล่มนี้ เพื่อประโยชน์ในการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับบุหรี่และสุขภาพที่เจาะประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเพศหญิง การศึกษาวิจัยต่อยอด รณรงค์และผลักดันนโยบาย

X

Main Menu