คลังหนังสือ ศจย.

 Lessons Learned in establishing HP fund

Lessons Learned in establishing HP fund

While public health is traditionally considered the ambit of ministries of health, given the inter-linkages between various social sectors and the growing trend of globalization and international cooperation, public health should more realistically be deemed a responsibility of all. It is thus of great significance that

FCTC WHO Framework Convention on Tobacco Control

FCTC WHO Framework Convention on Tobacco Control

FCTC WHO Framework Convention on Tobacco Control การพัฒนาทรัพยากรบุคคลและเครือข่ายที่เกี่ยวข้องด้านการควบคุมยาสูบให้มีศักยภาพในการพัฒนาและดำเนินกิจกรรมในหลายระดับเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่จะนำไปสู่ความสำเร็จในการควบคุมยาสูบของประเทศไทย หนังสือ“รู้จักอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบ องค์การอนามัยโลก”

 พลัง อสม.สานชุมชน ลดละเลิกบุหรี่เหล้า

พลัง อสม.สานชุมชน ลดละเลิกบุหรี่เหล้า

เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ เป็นผลงานการถอดบทเรียน สังเคราะห์ความรู้โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในการบูรณาการงานเหล้า บุหรี่ เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอนามัยชุมชน ได้รับการสนับสนุนจากสำนักสนับสนุนการควบคุมปัจจัยเสี่ยงหลัก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

คู่มือปฏิบัติงาน “โครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน”

คู่มือปฏิบัติงาน “โครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน”

 “โครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน” (มิถุนายน พ.ศ.2559 – พฤษภาคม พ.ศ.2562) เป็นกิจกรรมที่ถือกำเนิดขึ้นโดยความร่วมมือและดำเนินการ ของ กระทรวงสาธารณสุข กำหนดให้เป็นพันธกิจสำคัญของกระทรวงสาธารณสุขโดยได้รับการสนับสนุนหลักจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ,

สรุปรายงานการประชุมวิชาการบุหรี่กับสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๖

สรุปรายงานการประชุมวิชาการบุหรี่กับสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๖

การประชุมวิชาการบุหรี่กับสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 16 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 24 - 26 กรกฎาคม พ.ศ.2560 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางด้านวิชาการ และประสบการณ์การดาเนินงานควบคุมยาสูบของภาคีเครือข่ายกลุ่มต่างๆ 2) เพื่อหาแนวทางการดาเนินงานควบคุมการบริโภคยาสูบร่วมกัน

พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ 2560

พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ 2560

สืบเนื่องจากพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้ยกเลิกพระราชบัญญัติเดิม ๒ ฉบับ ได้แก่พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕ และ พระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งใช้บังคับมาเป็นเวลานานถึง ๒๕ ปี รวมทั้งมีบทบัญญัติหลายประการไม่เหมาะสมกับสถานการณะปัจจุบันซึ่งเป็นผลทําให้

นําเสนอผลงานวิจัยและโปสเตอร์เพื่อกำรควบคุมยาสูบ (Abstract Book)

นําเสนอผลงานวิจัยและโปสเตอร์เพื่อกำรควบคุมยาสูบ (Abstract Book)

การประชุมนาเสนอผลงานวิชาการ / โปสเตอร์เพื่อการควบคุมยาสูบ วันที่ 24 กรกฎาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่ผลงานจากโครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) ตลอดจนงานวิจัยด้านการควบคุมยาสูบจากหน่วยงานอื่นๆ

สรุป 25 ปี การควบคุมการบริโภคยาสูบของประเทศไทย พ.ศ.2535-2560

สรุป 25 ปี การควบคุมการบริโภคยาสูบของประเทศไทย พ.ศ.2535-2560

เหตุการณ์สำคัญเกี่ยวกับการควบคุมการบริโภคยาสูบของประเทศไทยในช่วงปี พ.ศ. 2535 – 2560 สามารถสรุปเป็น 3 ช่วง โดยระหว่างพ.ศ.2535-2539 เริ่มดาเนินการออกข้อบังคับตามพ.ร.บ. 2 ฉบับ, ระหว่างพ.ศ. 2540-2550 จัดตั้งสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และองค์กรขับเคลื่อนการควบคุมยาสูบ, และช่วง 2550 - 2560

X

Main Menu