ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

มาตรการห้ามนำเข้าบุหรี่ไฟฟ้าของประเทศไทย

มาตรการห้ามนำเข้าบุหรี่ไฟฟ้าของประเทศไทย

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย: “มาตรการห้ามนำเข้าบุหรี่ไฟฟ้าของประเทศไทย” แด่ กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ จัดทำโดย ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

ข้อเสนอเชิงนโยบายเรื่องการควบคุมบุหรี่อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย

ข้อเสนอเชิงนโยบายเรื่องการควบคุมบุหรี่อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย

บุหรี่อิเล็กโทรนิกส์มีการกล่าวอ้างในการช่วยเลิกบุหรี่ แต่ยังไม่มีหลักฐานเชิงวิทยาศาสตร์ที่รับรองประสิทธิผลและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว บุหรี่อิเล็กทรอนิกส์มีสารนิโคตินสูงถึง 4-24 มิลลิกรัม สูงกว่าบุหรี่ธรรมดากว่า 10 เท่าในขณะที่บุหรี่ธรรมดามีสารนิโคตินเพียง 1.2 มิลลิกรัม ทำให้อัตราการเต้นของหัวใจสูงส่งผลต่อความดันโลหิต

ข้อเสนอเชิงนโยบายเรื่อง มาตรการและแรงจูงใจ

ข้อเสนอเชิงนโยบายเรื่อง มาตรการและแรงจูงใจ

ข้อเสนอเชิงนโยบายเรื่อง มาตรการและแรงจูงใจให้ลดการบริโภคยาสูบในกลุ่มแรงงานอุตสาหกรรมและการเกษตรบุหรี่เป็นสาเหตุของโรคร้ายอย่างน้อย 25 โรค อาทิ โรคของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบหมุนเวียนโลหิต โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็งของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ควันบุหรี่มีสารเคมีอยู่มากกว่า 7,000 ชนิด

ข้อเสนอเชิงนโยบายเรื่องการควบคุมบุหรี่อิเล็กทรอนิกส์

ข้อเสนอเชิงนโยบายเรื่องการควบคุมบุหรี่อิเล็กทรอนิกส์

บุหรี่อิเล็กโทรนิกส์มีการกล่าวอ้างในการช่วยเลิกบุหรี่ แต่ยังไม่มีหลักฐานเชิงวิทยาศาสตร์ที่รับรองประสิทธิผลและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ซึ่งมีสารนิโคตินสูงถึง 4-24 มิลลิกรัม สูงกว่าบุหรี่ธรรมดากว่า 10 เท่าในขณะที่บุหรี่ธรรมดามีสารนิโคตินเพียง 1.2 มิลลิกรัม ผู้ผลิตบางรายแต่งรสและกลิ่นผลไม้หรือสมุนไพร ซึ่งอาจจะเป็นการเพิ่มจำนวนนักสูบหน้าใหม่

การตลาดการแลกเปลี่ยนซื้อสินค้าบุหรี่/ผลิตภัณฑ์ยาสูบบนอินเตอร์เน็ต

การตลาดการแลกเปลี่ยนซื้อสินค้าบุหรี่/ผลิตภัณฑ์ยาสูบบนอินเตอร์เน็ต

สถานการณ์ปัญหา ในปัจจุบันมีเว็บไซต์ที่เสนอสิ่งที่ผิดกฎหมาย ทำการโฆษณาและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบชนิดต่างๆ โดยใช้ช่องโหว่ของการตรวจสอบเว็บไซต์ของภาคราชการ ซึ่งจากผลการสำรวจ “การตลาดการแลกเปลี่ยนซื้อสินค้าบุหรี่/ผลิตภัณฑ์ยาสูบบนอินเตอร์เน็ต” โดย ดร.พิจิตรพงศ์ สุนทรพิพิธ นักวิชาการคณะสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล

ข้อมูลทางวิชาการเรื่องบุหรี่เท่ากับยาเสพติด

ข้อมูลทางวิชาการเรื่องบุหรี่เท่ากับยาเสพติด

อำนาจการเสพติดบุหรี่เปรียบเทียบกับยาเสพติดให้โทษ องค์การอนามัยโลก ให้ความหมายว่า ยาเสพติด หมายถึง สิ่งที่เสพเข้าไปแล้วจะเกิดความต้องการทั้งทางร่างกายและจิตใจต่อไปโดยไม่สามารถหยุดเสพได้ และจะต้องเพิ่มปริมาณมากขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดจะทำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บต่อร่างกายและจิตใจขึ้น

 What is the Next Step for Thai Tobacco Tax?

What is the Next Step for Thai Tobacco Tax?

What is the Next Step for Thai Tobacco Tax?
จัดทำขึ้นเมื่อ 23 มีนาคม 2556 เป็นการสรุปบทเรียนที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม WCO excise summit 2012

การวิเคราะห์ช่องว่างกิจกรรมการควบคุมยาสูบในประเทศไทย พ.ศ.2555-2557

การวิเคราะห์ช่องว่างกิจกรรมการควบคุมยาสูบในประเทศไทย พ.ศ.2555-2557

การวิเคราะห์ช่องว่างกิจกรรมการควบคุมยาสูบในประเทศไทย พ.ศ.2555-2557 โดยศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ ศจย. (กิจกรรมที่ต้องดำเนินการภายใน 3  ปี)

ข้อมูลทางวิชาการเรื่องการลงทุนเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาช่วยเลิกบุหรี่ในประเทศไทย

ข้อมูลทางวิชาการเรื่องการลงทุนเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาช่วยเลิกบุหรี่ในประเทศไทย

Policy Brief โดย ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) 17 มกราคม 2556 ข้อมูลทางวิชาการเรื่องการลงทุนเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาช่วยเลิกบุหรี่ในประเทศไทย นโยบายสนับสนุนการเลิกบุหรี่ (Offer help to quite tobacco use) เป็นหนึ่งใน 6 นโยบายที่องค์การอนามัยโลกยอมรับว่าเป็นนโยบายที่คุ้มค่าในการลงทุน

X

Main Menu